Seoblogthai |
เริ่มต้นด้วย เราทำเว็บเพื่ออะไร ?
ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย ?
สุดท้ายคือ เราจะวางแผนในอนาคตอย่างไรกับเว็บไซต์นี้ ? เว็บไซต์ที่เรากำลังจะทำขึ้น
เมื่อเราวางแผนเรียบร้อยแล้ว เราก็มาเริ่มต้นกันเลย แต่ก่อนทำเว็บไซต์เราก็ควรศึกษา html ก่อนนะครับ ศึกษาให้พอรู้ก่อน เพื่อที่จะเอาไปต่อยอดได้ในอนาคต
วางแผนเสร็็จแล้ว ศึกษาภาษา html พอรู้เรื่องแล้ว ต่อไปลงมือทำเลย
เมื่อเราวางแผนเรียบร้อยแล้ว เราก็มาเริ่มต้นกันเลย แต่ก่อนทำเว็บไซต์เราก็ควรศึกษา html ก่อนนะครับ ศึกษาให้พอรู้ก่อน เพื่อที่จะเอาไปต่อยอดได้ในอนาคต
วางแผนเสร็็จแล้ว ศึกษาภาษา html พอรู้เรื่องแล้ว ต่อไปลงมือทำเลย
ส่วนการเลือกเช่าโฮส ผมจะไม่เล่าละกัน การทำseo มีขั้นตอนดังนี้
การคิดชื่อโดเมน
เริ่มจากการคิดชื่อ โดเมน ชื่อโดเมนมีผลกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ของเรานะ ถ้าชื่อโดเมนยาวๆ จำยากๆ คงไม่มีใครอยากจำครับ การตั้งชื่อโดเมนควรตั้งชื่อที่ไม่ซ้ำหรือใกล้เคียงกับเว็บไซต์อื่น
การคิดชื่อโดเมน
เริ่มจากการคิดชื่อ โดเมน ชื่อโดเมนมีผลกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ของเรานะ ถ้าชื่อโดเมนยาวๆ จำยากๆ คงไม่มีใครอยากจำครับ การตั้งชื่อโดเมนควรตั้งชื่อที่ไม่ซ้ำหรือใกล้เคียงกับเว็บไซต์อื่น
แต่ที่ผมจะแนะนำคือการสร้างแบรนเป็นของตัวเอง การตั้งชื่อโดเมน ให้เป็นเอกลักษณ์เด่นๆ จำง่ายๆ เป็นแบรนของตัวเรามากที่สุด ตัวอย่างเช่น ผมจะทำเว็บดูหนังออนไลน์
ผมก็ตั้งชื่อโดเมน เซียนหนัง.com (ตัวอย่างนะครับ)
ชื่อโดเมนควรมี 2-3 พยางค์ เพื่อผู้ใช้งานจะได้จำได้ง่ายๆ
ใช้อะไรทำเว็บไซต์ดีที่สุด
อันนี้มันอยู่ที่ผู้ทำเว็บนะครับ บางท่านถนัด cms บางท่านชอบเขียนเองกับมือ แต่ผมชอบ blogspot มันง่ายดี ใช้อะไรทำเว็บก็ได้ครับ แต่จุดสำคัญมันอยู่ที่เราจะสร้างแบรนเว็บไซต์
อย่าไรให้เว็บไซต์ คนเข้าเยอะๆ พูดมาเยอะละ
ใช้อะไรทำเว็บไซต์ดีที่สุด
อันนี้มันอยู่ที่ผู้ทำเว็บนะครับ บางท่านถนัด cms บางท่านชอบเขียนเองกับมือ แต่ผมชอบ blogspot มันง่ายดี ใช้อะไรทำเว็บก็ได้ครับ แต่จุดสำคัญมันอยู่ที่เราจะสร้างแบรนเว็บไซต์
อย่าไรให้เว็บไซต์ คนเข้าเยอะๆ พูดมาเยอะละ
มาเริ่มต้นทำ seo กันเลยครับ
ในส่วนนี้ ผมจะขอยกตัวอย่างเว็บ blogspot นะครับ แต่สำหรับเว็บอื่นๆ และ cms ก็สามาตรเอาไปประยุคต์ใช้งานได้ครับในส่วนนี้ผมจะแยกเป็น ออนเพจและออฟเพจ เพื่อให้เข้าใจง่ายๆแต่ไม่มีภาพประกอบนะครับ
- เมื่อเรากำหนดเป้าหมายได้แล้ว
- วางแผนได้แล้ว
- ตั้งชื่อโดเมนได้แล้ว
- และตัดสินใจเลื่อก cms ที่ทำเว็บไซต์ได้แล้ว
- หรือเขียนเองกับมือเช่าโฮสเสร็จสัพ เรียบร้อยทุกขั้นตอนแล้ว
การปรับออนเพจ ทำบทความให้มีคุณภาพ
ออนเพจคือ การปรับแต่งภายในเว็บไซต์ ขอยกตัวอย่างเว็บ blogspot นะครับ
การปรับออนเพจของ blogspot เริ่มต้นการจารเปลี่ยนธีมเลยครับ เปลี่ยนธีมตามที่เราชอบ หลังจากเปลี่ยนธีมเสร็จ ก็เข้าไปแก้ nofollow ให้เป็น dofollow (อันนี้ไม่สำคัญไม่แก้ก็ได้)
แล้วตกแต่งโครงเว็บก่อนเลยครับ ปรับแต่งตามใจชอบเลย ชอบแนวไหน ภาพ วีดีโอ อะไรที่ทำให้เว็บดูสวยๆ แต่งเลย
การใส่ meta อันนี้สำคัญครับ มีผลต่อการค้นหาด้วย ตามนี้เลยครับ
<meta content='คำอธิบายเว็บ' name='description'/>
<meta content='ใส่ Keywords' name='keywords'/>
<meta content='ชื่อผู้เขียน' name='Author'/>
<meta content='e-mail ผู้เขียน' name='Email'/>
<meta content='all' name='audience'/>
<meta content='general' name='rating'/>
<meta content='all' name='robots'/>
<meta content='index, follow' name='robots'/>
<meta content='global' name='distribution'/>
<meta content='1 days' name='revisit-after'/>
แค่หลักๆ ก็มีแค่ 2 ตัวครับคือ description กับ keywords
การใส่ keywords ไม่ควรใส่เยอะ 5-15 คำ
การใส่ description ไม่ควรใส่เยอะและควรมี keywords อยู่ด้วย
การเขียนบทความ
ในการเขียนบทความ ไม่ว่าจะเป็น cms หรือเว็บบล็อกก็คงไม่แตกต่างกันมากนะคับ เริ่มต้นการเขียนบทความ เริ่มตั้งแต่ ชื่อโพสต์ หรือหัวข้อ เลยนะคับชื่อโพสหรือหัวข้อควรมี keywords อยู่ด้วยครับ ชื่อโพสหรือหัวข้อไม่ควรซ้ำกับเว็บอื่น ควรตั้งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเนื้อหาในบทความนั้นๆ
ต่อไปเป็นเนื้อหาในบทความ บทความของเราควรเป็นบทความที่เขียนขึ้นเอง มีความยาวพอสมควร อ่านง่ายๆ จัดเป็นระเบียบ เป้นมิตรกับผู้อ่าน ในเนื้อหาของบทความควรมี ตัวหนา ตัวเอียง
ตัวขีดเส้นใต้ มีลิ้ง แต่ผมแนะนำให้เน้น ตัวหนากับเท็กลิ้งค์ครับ แนะนำให้มี h1-h6 ในบทความด้วย
การใส่ป้ายกำกับ ถ้าเป็น cms ก็การใส่ tag
การใส่ป้ายกำกับหรือ tag สำคัญไหม ผมตอบว่า สำคัญครับเราควรใส่ ใส่คำที่เกี่ยวกับเนื้อหาบทความของเรา แต่ไม่ควรใส่เยอะนะครับurl หรือ ลิ้งค์ของหน้าบทความ สำคัญไหม สำคัญครับเราจะกำหนดเองหรือ auto ก็ได้ครับ แต่ที่แนะนำคือเราควร แก้ไขในจุดนี้ และควรตั้งชื่อ url ของหน้านั้นๆ ตามความหมายของเนื้อหาหน้านั้นๆ เช่น บทความเกี่ยวกับ จอ LED url ของหน้านี้ควรจะเป็น http://ชื่อเว็บ.blogspot.com/2013/05/led.html เป็นต้น จุดนี้สำคัญนะคับ มีผลต่อการค้นหา แล้ว url ภาษาไทยมีผลต่อการค้นหาไหม มีครับ url ภาษาไทยยิ่งดีเลย แต่ข้อเสียคือ กว่ามันจะ index นานหน่อยนะครับ
การปรับออนเพจหลักๆ ก็มีแค่การปรับแต่งโครงเว็บ การเขียนบทความ การเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ สำคัญมากนะครับ ออนเพจ เราควรปรับแต่งดีๆ ส่วนออฟเพจไม่มีอะไรมากครับ ผมเคยโพสครั้งหนึ่งแล้ว
การปรับ ออฟเพจ สำคัญไม่แพ้ออนเพจ
ออฟเพจคือ การปรับแต่งภายนอกครับ เช่นการเชื่อมโยงจากเว็บหนึ่งมายังเว็บของเรา เราเรียกว่า ออฟเพจ หลักของการปรับออฟเพจคือ การเชื่อมโยงเว็บอื่นๆมาเว็บเราครับถ้าเว็บอื่นๆ ที่ลิ้งค์มาเว็บเรานั้นมีคุณภาพ google จะมองว่าเว็บของเรา มีคุณภาพด้วยครับ แล้วคุณภาพของเว็บที่เชื่อมโยงมาเว็บเรา เรามองยังไง เอาอะไรมาวัด เราก็แค่ดูคร่าวๆ ว่าเว็บนั้นมีลิ้งออกเยอะไหม ถ้าเว็บนั้นไม่มีลิ้งออกเลย นั้นหมายถึงว่าเว็บเขามีคุณภาพในระดับหนึ่งแต่ก็ควรดูด้วยนะครับ องค์ประกอบอื่นๆ เช่นเนื้อหาคัดลอกมาไหม เป็นต้น
แต่ google มีการให้คะแนนแต่ละเว็บไซต์ ค่านั้น เขาเรียกว่า pr ยิ่ง มีเว็บที่ pr สูงๆ ลิ้งค์มาเว็บเรา เว็บของเราจะถูกมองว่ามีคุณภาพทันที
หัวใจสำคัญของ ออฟเพจคือการสร้าง bl
bl คือลิ้งย้อนกลับมายังเว็บของเรา การสร้าง bl ก็ไม่ยากครับ มันคือ เท็กลิ้งค์ นั้นละคับ แต่ที่ยากหน่อยก็คือ การหาค่า ip ที่ต่างกัน คลาสที่ต่างกัน อันนี้ยากหน่อยส่วนการทำให้บทความของเรา index เร็วๆ
วิธีทำบทความให้ index เร็วๆ X2
เรามาเริ่มต้นกันเลย เราจพะทำยังไงให้บทความของเราโผ่ google ได้เร็วที่สุด
เคยสังเกตุไหมครับ ระหว่างเว็บไซต์์ใหญ่ๆ ขาวดังๆ ข่าวทันเหตุการ เมื่อเราค้นหาในเน็ต เว็บใหญ่ๆ มันโผ่มาก่อนแล้ว เว็บเล็กๆ 3 ชม. ยังไม่ index เลย
กว่าบทความเราจะ index เว็บใหญ่ๆ เต็มหน้า 1 ไปแล้ว
1. บทความต้องเป็นบทความที่เขียนเอง หัวข้อแปลกใหม่ไม่ซ้ำหรือใกล้เคียงกับใคร
เคยสังเกตุไหมครับ ระหว่างเว็บไซต์์ใหญ่ๆ ขาวดังๆ ข่าวทันเหตุการ เมื่อเราค้นหาในเน็ต เว็บใหญ่ๆ มันโผ่มาก่อนแล้ว เว็บเล็กๆ 3 ชม. ยังไม่ index เลย
กว่าบทความเราจะ index เว็บใหญ่ๆ เต็มหน้า 1 ไปแล้ว
วิธีทำให้บทความ index เร็วๆ
ออนเพจ1. บทความต้องเป็นบทความที่เขียนเอง หัวข้อแปลกใหม่ไม่ซ้ำหรือใกล้เคียงกับใคร
2. ในบทความควรมีคำที่ถูกเน้น อาจจะเป็นตัวหนา ตัวเอียง คำขีดเส้นใต้ เท็กลิ้งค์ แต่ที่แนะนำคือ ตัวหนา และเปลี่ยนสีตัวอักษร เพื่อให้คำที่ถูกเน้นมันเด่่น บอทจะได้รู้ว่าหน้านี้คำที่ถูกเน้นคือคำไหน มันจะได้จัดอันดับหน้านี้ คำค้นหานี้ให้อยู่ในอันดับต้นๆ
3. ถ้าเป็นไปได้ควรมี h1-h6 และคำที่ถูกเน้นคำนั้นควรมีในหัวข้อของบทความด้วย
ออฟเพจ
1. ออฟเพจเป็นอีกส่วนที่ทำให้บทความของเรา index ได้เร็วขึ้น และส่วนใหญ่เว็บที่มีบอทเข้าบ่อยๆ มักจะได้เปรียบ
2. บอทมันเก็บข้อมูลแค่ตัวอักษร แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ เช่นการเพิ่มเติมข้อมูลบ่อยๆ บอทจะชอบเข้ามาเก็บข้อมูลนั้นๆ มาก
3. การปรับออฟเพจให้บอทเข้ามาเก็บข้อมูล บ่อยๆทำได้หลายวิธีเช่นการทำลิ้งย้อนกลับ bl แต่วิธีที่ผมแนะนำคือ
3.1 นำเว็บไซต์ไปเพิ่ม feed วิธีนี้ช่วยให้ index เร็วขึ้นในระดับหนึ่ง เว็บไซต์นี้เป็นต้นและมีอีกหลายเว็บไซต์ http://feedburner.google.com/
3.2 การทำ Sitemap วิธีนี้ช่วยทำให้บทความ index ได้เร็วขึ้น เว็บนี้ใช้ได้ http://www.xml-sitemaps.com/
3.3 แต่วิธีนี้ index เร็วที่สุดเท่าที่เคยทำมา คือ การทำลิ้งย้อนกลับมายัง/feeds/posts ตัวอย่างเช่น เว็บ blogspot ยกตัวอย่างเว็บบล็อกผม http://####.blogspot.com/feeds/posts/default การทำลิ้งย้อนกลับมายังหน้านี้จะช่วยให้บทความของเรา index ได้เร็วมาก หรือทำลิ้งย้อนกลับมาที่หน้า Sitemap วิธีนี้ช่วยให้บทความเรา index เร็วที่สุดเท่าที่ผมเคยทำมา แต่ถ้าขี้เกลียดแบบผมก็แค่ ติดลิ้งในรายเซ็นเว็บไซต์ต่างๆที่มีบอทเข้าเก็บข้อมูลบ่อยๆ ตัวอย่างเว็บนี้เลย
ส่วนเรื่องอื่นๆ ผมเห็นมีคนโพสไว้เยอะแล้ว ผมจะไม่โพสเพราะ เนื้อหามันใกล้เคียงกัน ต่างกันที่เทคนิค แค่นั้น บทความนี้อาจจะไม่อะเอียดเท่าที่ควรนะครับ เพราะ พิมพ์แบบรีบๆ
ผิดๆ ถูกๆ เอาไว้โอกาศหน้าจะแก้ไขใหม่ครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น